บทความทั่วไป
Aoi-en Bonsai あおい園
ยามาโดริคืออะไร?…ในฐานะที่ผ่านยามาโดริทั้งเล็กใหญ่มาหลายต้น วันนี้อาโออิเอ็นบอนไซจะเล่าให้ฟัง
Feb 8, 2020
คำว่า “ยามะ” ที่แปลว่าภูเขา และ “โดริ” ที่แปลว่าทางเดินหรือถนน พอรวมกันเป็น “ยามาโดริ” ก็หมายความว่ามันคือไม้ที่ขุดมาจากเส้นทางในป่าเขานั้นเอง ยามาโดริมีหลายแบบ แบบมีชาริที่เป็นส่วนไม้สีขาวที่ตายซากตรงลำต้นติดมาด้วย และอีกแบบคือเป็นยามาโดริที่สมบูรณ์ดี เล็กบ้างใหญ่บ้างก็ว่ากันไปตามขนาดแต่ยามาโดริที่ดีและเป็นที่ยอมรับในการมองเห็นทันทีต้องมีชาริสีขาวที่สวยงามติดมาเท่านั้น แต่สิ่งที่เราจะดูได้ง่ายที่สุดก็คือวิธีการเดินทางของลำต้นนั่นเองว่าอันไหนแท้อันไหนปลอม การเติบโตในสภาพอากาศและธรรมชาติอันเลวร้ายบนภูเขาสูงในญี่ปุ่นนั้นทำให้ชิมปากุเหล่านี้แคระแกร็นและทิ้งกิ่งไปเพื่อเอาตัวรอด การเอี้ยวตัวไปมาเพื่อหาแหล่งพลังงานนั่นก็คือแสงอาทิตย์ เพราะดวงอาทิตย์ของเราจะเปลี่ยนทิศอ้อมลงไปทางทิศใต้ในหน้าหนาวของทุกๆปี และจะกลับมาอยู่ตำแหน่งเดิมเมื่อเข้าสู่ฤดูร้อน ทำให้ลำต้นจำเป็นต้องเอี้ยวหากินตามไปด้วย...
Aoi-en Bonsai あおい園
สนดำคุโรมัตสึอายุ 100 ปีต้นนี้ จำเป็นต้องเปลี่ยนดินด่วน เพราะความผิดพลาดของผมเอง
Feb 8, 2020
Between 1943 and 1945, with the help of Warner Bros.’ finest, the U.S. Army produced a series of 27 propaganda cartoons...
Aoi-en Bonsai あおい園
หลังจาก 7 เดือนผ่านไปอิโตอิกาว่า ชิมปากุต้นนี้ก็พัฒนาตามสิ่งที่ร่างเอา ไว้ในหัวได้เป็นอย่างดี
Feb 8, 2020
Between 1943 and 1945, with the help of Warner Bros.’ finest, the U.S. Army produced a series of 27 propaganda cartoons...
Aoi-en Bonsai あおい園
ยามาโดริคืออะไร?…ในฐานะที่ผ่านยามาโดริทั้งเล็กใหญ่มาหลายต้น
Feb 8, 2020
วันนี้อาโออิเอ็นบอนไซจะเล่าให้ฟัง คำว่า “ยามะ” ที่แปลว่าภูเขา และ “โดริ” ที่แปลว่าทางเดินหรือถนน พอรวมกันเป็น “ยามาโดริ” ก็หมายความว่ามันคือไม้ที่ขุดมาจากเส้นทางในป่าเขานั้นเอง ยามาโดริมีหลายแบบ แบบมีชาริที่เป็นส่วนไม้สีขาวที่ตายซากตรงลำต้นติดมาด้วย และอีกแบบคือเป็นยามาโดริที่สมบูรณ์ดี เล็กบ้างใหญ่บ้างก็ว่ากันไปตามขนาด แต่ยามาโดริที่ดีและเป็นที่ยอมรับในการมองเห็นทันทีต้องมีชาริสีขาวที่สวยงามติดมาเท่านั้น แต่สิ่งที่เราจะดูได้ง่ายที่สุดก็คือวิธีการเดินทางของลำต้นนั่นเองว่าอันไหนแท้อันไหนปลอม การเติบโตในสภาพอากาศและธรรมชาติอันเลวร้ายบนภูเขาสูงในญี่ปุ่นนั้นทำให้ชิมปากุเหล่านี้แคระแกร็นและทิ้งกิ่งไปเพื่อเอาตัวรอด การเอี้ยวตัวไปมาเพื่อหาแหล่งพลังงานนั่นก็คือแสงอาทิตย์ เพราะดวงอาทิตย์ของเราจะเปลี่ยนทิศอ้อมลงไปทางทิศใต้ในหน้าหนาวของทุกๆปี และจะกลับมาอยู่ตำแหน่งเดิมเมื่อเข้าสู่ฤดูร้อน ทำให้ลำต้นจำเป็นต้องเอี้ยวหากินตามไปด้วย...